ยา พาราเซตามอล P500 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : ค้นหา พาราเซตามอล

Mon, 16 May 2022 00:02:08 +0000
  1. อย.ย้ำข่าวไม่จริง ยาพารามีไวรัสปนเปื้อน อย่าเชื่อ อย่าแชร์ | Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ
  2. ข่าวปลอม! ยาพาราเซตามอลมีส่วนผสมของไวรัสแมคชูโป
  3. อย.เผยประเด็น "ยาพาราเซตามอล"มีส่วนผสมของ"ไวรัส"เป็นข่าวปลอม!
  4. ระวังข่าวปลอม! ยาพารามีไวรัส ปนเปื้อน ไม่เป็นความจริง อย่าเชื่อ อย่าแชร์
  5. วนซ้ำอีก! ยาพารามีไวรัสปนเปื้อน ไม่เป็นความจริง อย่าเชื่อ อย่าแชร์
  6. อย่าเชื่อ!! “พาราเซตามอล” มีไวรัสปนเปื้อน

ชัวร์ก่อนแชร์: เตือนระวังยาพาราเซตามอลผสมไวรัสร้าย จริงหรือ? - YouTube

อย.ย้ำข่าวไม่จริง ยาพารามีไวรัสปนเปื้อน อย่าเชื่อ อย่าแชร์ | Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ

อย. 5 พ. ย. -อย. ย้ำยาพาราเซตามอล ปนเปื้อนไวรัสแมคชูโป ไม่เป็นความจริง หากพบว่ายาใดมีการปนเปื้อนจะต้องแจ้งเตือน เรียกเก็บยาคืน ไม่ให้นำออกมาจำหน่าย อย่าเชื่อ อย่าแชร์ข่าวลวงในโลกออนไลน์ ซึ่งมักจะวนกลับมาเป็นระยะ ขอให้ผู้บริโภคตรวจสอบก่อนแชร์ข้อมูลได้ทางแอปพลิเคชัน อย. เช็ก ชัวร์ แชร์ ภญ. สุภัทรา บุญเสริม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (รองเลขาธิการ อย. ) เปิดเผยว่า จากกรณีที่มีการแชร์ข้อมูลในโลกออนไลน์อ้างถึงสถานีโทรทัศน์ช่องหนึ่ง เผยแพร่ข่าวห้ามกินยาพาราเซตามอลที่มีชื่อว่า P/500 เพราะมีไวรัสแมคชูโปปนเปื้อน มีอันตรายถึงตายนั้น ข่าวดังกล่าวสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย. ) เคยชี้แจงข้อเท็จจริงแก่ประชาชนไปแล้วว่าไม่เป็นความจริง ซึ่งขณะนี้พบว่าข่าวดังกล่าวกลับมาเผยแพร่อีกครั้ง จึงขอย้ำอีกครั้งว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด แมคชูโปไวรัสเป็นเชื้อที่ไม่สามารถเจริญเติบโตในที่แห้ง ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้น้อยมากที่ยาพาราเซตามอลจะปนเปื้อนเชื้อดังกล่าว ขอให้ประชาชนมั่นใจว่าสามารถรับประทานยาพาราเซตามอลได้ตามปกติ และขอความร่วมมือจากทุกท่านอย่าหลงเชื่อและอย่าแชร์ข้อความดังกล่าวต่อ เพราะจะสร้างความตระหนกให้กับผู้อื่น ทั้งนี้ ยาที่จำหน่ายในประเทศไทยต้องผลิตภายใต้หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตยา (GMP) เพื่อควบคุมคุณภาพ มาตรฐาน และประสิทธิผล นอกจากนี้ อย.

มีการกำกับดูแลอย่างเข้มงวด ทั้งก่อนและหลังออกสู่ตลาด หากพบว่ายาใดมีการปนเปื้อน ไม่ปลอดภัยในการใช้ อย. จะเรียกเก็บยาคืนและแจ้งเตือนให้ผู้บริโภคทราบทันที รองเลขาธิการฯ อย. กล่าวในตอนท้ายว่า ขอให้ผู้บริโภคอย่าหลงเชื่อแหล่งข่าวที่ไม่น่าเชื่อถือควรตรวจสอบข้อเท็จจริงให้แน่นอนก่อนที่จะแชร์ข้อมูลต่อ เพราะที่ผ่านมา มักมีการส่งต่อข้อมูลด้านสุขภาพที่ผิด ๆ ในโลกออนไลน์อยู่บ่อยครั้ง และมักวนกลับมาเป็นระยะ ก่อนแชร์สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ทางแอปพลิเคชัน อย. เช็ก ชัวร์ แชร์ หรือเข้าผ่านทาง Line: FDAThai หรือเว็บไซต์

ข่าวปลอม! ยาพาราเซตามอลมีส่วนผสมของไวรัสแมคชูโป

ความหวัง แบ่งปัน ในหัวข้อ ยาพาราเซตามอลp/500 นี้จะเป็นประโยชน์ต่อคุณ. ขอบคุณมาก

อย.เผยประเด็น "ยาพาราเซตามอล"มีส่วนผสมของ"ไวรัส"เป็นข่าวปลอม!

[button color="red" size="small" link=" icon="" target="false" nofollow="false"]ดูคำแนะนำด้านล่าง[/button] ชัวร์ก่อนแชร์: ระวังพาราเซตามอลผสมไวรัสตัวร้าย จริงหรือไม่? เมื่อหุ้นโซเชียลเตือนระวังยาพาราเซตามอลแบรนด์ใหม่ มีส่วนผสมของไวรัสอันตราย จริงหรือไม่? ติดตามได้จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ คลิก ► คลิกชม 1. สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ► 2. พระราชกรณียกิจในพระองค์ พระมหากษัตริย์ ► 3. คนไทยด้วยใจ ♥ รักในหลวง ► ติดตามสำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD No. 30 | Modern Nine TV) ข่าวไทย หน่วยงาน อสมท ► เว็บ ► Facebook ► แอดไลน์ (LINE) ► เพิ่มเพื่อน ► พิมพ์ @TNAMCOT หรือคลิก /p/%40tnamcot ► Twitter ► Instagram ► YouTube ► ดูข่าวย้อนหลัง ก่อนแชร์ SureAndShare FactChecking ที่นี่ Thai PBS: Stop Sharing "ข่าวลวง" ไวรัสที่ปนเปื้อน Paramedicine (15 พ. ย. 60) ติดตามชมรายการได้ที่นี่ Thai PBS ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 22. 00 22. 40 น. ทาง Thai PBS หรือดูทีวีออนไลน์ทาง กด Subscribe ติดตามรายการดีๆ ของช่องได้ที่: และติดตาม Thai PBS ออนไลน์ได้ที่ Website: www. Facebook: Twitter: Instagram: Google Plus: LINE: @ThaiPBS Youtube: ชัวร์ก่อนแชร์: กินพาราเซตามอลตามน้ำหนักตัวจริงไหม?

ยันไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมายและความถูกต้องของบ้านเมือง กรณีข่าวปม นศ. สาวร้องอ้างรองหัวหน้าพรรคแห่งหนึ่งลวนลาม ระบุยังไม่ทราบว่าเป็นใคร โฆษกรัฐบาลเผยนายกรัฐมนตรี ขอความร่วมมือผู้ประกอบการ/ประชาชน "ตั้งการ์ดสูง" เคร่งครัดมาตรการป้องกันโควิด-19 หวังสกัดไม่ให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 หลังเทศกาลสูงเกินไป

ระวังข่าวปลอม! ยาพารามีไวรัส ปนเปื้อน ไม่เป็นความจริง อย่าเชื่อ อย่าแชร์

| ระวังข่าวสุขภาพลวง [Mahidol Channel] "กินยาพาราเซตามอลเพื่อดักจับไข้ก่อน คุณจะป่วย" หลายคนคงคุ้นเคยและเคยได้ยินจากคนใกล้ตัวมักคุยกันตอนเราอยู่กลางสายฝน แต่คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าการพาแพทย์ไปดักจับอาการไข้หวัดใหญ่จะได้ผลจริงหรือไม่? วันนี้ ผศ. ศ. ธนรัตน์ สวนเสนีย์ อาจารย์ภาควิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จะพาไปไขข้อข้องใจนี้ พร้อมทั้งวิธีรับประทานยาที่ถูกต้อง ที่ทำให้คุณทานยาได้ถูกต้อง ถูกวิธี และปลอดภัย สามารถรับชมได้ในรายการ ข่าวสุขภาพปลอม ตอน "พาพยาบาลไปดักไข้ ได้ผลจริงหรือ? " ไข้ดักจับพาราเซตามอล ระวังข่าวสุขภาพปลอม MahidolChannel ติดตามชมตอนใหม่ได้ก่อนใครทาง LINE @MahidolChannel เพียงกดที่ลิงค์ หรือกดเพิ่มเพื่อนแล้วพิมพ์ @mahidolchannel ที่ช่องค้นหา – ––––––––––––––––––– ช่อง YouTube: Mahidol Channel: Facebook: มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล: เว็บไซต์ | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |.. คุณสามารถดูข้อมูลล่าสุดเพิ่มเติมได้ที่นี่: แบ่งปันที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ paracetamol p-500. ชัวร์ก่อนแชร์: เตือนระวังยาพาราเซตามอลผสมไวรัสร้าย จริงหรือ? | และรูปภาพที่เกี่ยวข้อง. ชัวร์ก่อนแชร์: เตือนระวังยาพาราเซตามอลผสมไวรัสร้าย จริงหรือ?

วนซ้ำอีก! ยาพารามีไวรัสปนเปื้อน ไม่เป็นความจริง อย่าเชื่อ อย่าแชร์

ช่อง 9 เพิ่งออกข่าวภาคค่ำ วันนี้จ๊ะ. ตอนนี้พบ 11จังหวัด รวม กทม ด้วย. คำเตือนด่วน ให้ระวังการใช้ยาพาราเซทตาม่อนซึ่งมีชื่อว่า p/500 เป็นยาที่ออกใหม่ เม็ดยาสีขาวและเคลือบมันจนเป็นประกายมาก หมอยาแนะนำว่า ยานี้มีส่วนผสมของไวรัสชื่อ "แมคชูโป"ซึ่งเป็นไวรัสที่อันตรายร้ายแรงชนิดหนึ่งของโลก โปรดกระจายข่าวสารนี้ให้ประชาชนได้รับทราบรวมทั้งคนในครอบครัวด้วย เพื่อความปลอดภัยต่อชีวิตและสุขภาพ ไม่ระบุชื่อ • 2 ปีที่แล้ว 2 ความเห็น เพิ่มความเห็นใหม่

มีการกำกับดูแลอย่างเข้มงวด ทั้งก่อนและหลังออกสู่ตลาด หากพบว่ายาใดมีการปนเปื้อน ไม่ปลอดภัยในการใช้ อย. จะเรียกเก็บยาคืนและแจ้งเตือนให้ผู้บริโภคทราบทันที "ขอให้ผู้บริโภคอย่าหลงเชื่อแหล่งข่าวที่ไม่น่าเชื่อถือควรตรวจสอบข้อเท็จจริงให้แน่นอนก่อนที่จะแชร์ข้อมูลต่อเพราะที่ผ่านมา มักมีการส่งต่อข้อมูลด้านสุขภาพที่ผิดๆ ในโลกออนไลน์อยู่บ่อยครั้ง และมักวนกลับมาเป็นระยะ ก่อนแชร์สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ทางแอปพลิเคชัน อย. เช็ก ชัวร์ แชร์ หรือเข้าผ่านทาง Line: FDAThai หรือเว็บไซต์ รองเลขาธิการ อย. กล่าว.

อย่าเชื่อ!! “พาราเซตามอล” มีไวรัสปนเปื้อน

  1. ยาพาราเซตามอล 500
  2. ระบาดหนัก!!! ไวรัสปนยาพารา งานนี้อ.ย. ออกมาชี้แจ้งแล้ว
  3. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : ค้นหา พาราเซตามอล
  4. ยาพารามีไวรัสปนเปื้อน ไม่จริง - สำนักข่าวไทย อสมท
  5. ณ เดช p80 frame
  6. ชัวร์ก่อนแชร์ : เตือนระวังยาพาราเซตามอลผสมไวรัสร้าย จริงหรือ ? | paracetamol p-500 | ข่าวที่มีประโยชน์ที่สุด - Hua Hin Sun Villa
  7. มา ส คา โปน คือ

เกาะติดข่าวสาร >> คมชัดลึก ออนไลน์ อย. ย้ำชัด ยาพาราเซตามอล ปนเปื้อนไวรัสแมคชูโป ไม่เป็นความจริง หากพบว่ายาใดมีการปนเปื้อนจะต้องแจ้งเตือน เรียกเก็บยาคืน ไม่ให้นำออกมาจำหน่าย อย่าเชื่อ อย่าแชร์ข่าวลวงในโลกออนไลน์ ซึ่งมักจะวนกลับมาเป็นระยะ ขอให้ผู้บริโภคตรวจสอบก่อนแชร์ข้อมูล ภญ. สุภัทรา บุญเสริม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า จากกรณีที่มีการแชร์ข้อมูลในโลกออนไลน์อ้างถึงสถานีโทรทัศน์ช่องหนึ่ง เผยแพร่ข่าวห้ามกินยาพาราเซตามอลที่มีชื่อว่า P/500 เพราะมีไวรัสแมคชูโปปนเปื้อน มีอันตรายถึงตายนั้น ข่าวดังกล่าวสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย. ) เคยชี้แจงข้อเท็จจริงแก่ประชาชนไปแล้วว่าไม่เป็นความจริง ซึ่งขณะนี้พบว่าข่าวดังกล่าวกลับมาเผยแพร่อีกครั้ง จึงขอย้ำอีกครั้งว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด แมคชูโปไวรัสเป็นเชื้อที่ไม่สามารถเจริญเติบโตในที่แห้ง ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้น้อยมากที่ยาพาราเซตามอลจะปนเปื้อนเชื้อดังกล่าวขอให้ประชาชนมั่นใจว่าสามารถรับประทานยาพาราเซตามอลได้ตามปกติ และขอความร่วมมือจากทุกท่านอย่าหลงเชื่อและอย่าแชร์ข้อความดังกล่าวต่อ เพราะจะสร้างความตระหนกให้กับผู้อื่น ทั้งนี้ ยาที่จำหน่ายในประเทศไทยต้องผลิตภายใต้หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตยา (GMP) เพื่อควบคุมคุณภาพ มาตรฐาน และประสิทธิผล นอกจากนี้ อย.