คำนวณ ค่า ดัชนี มวล กาย

Sun, 15 May 2022 21:26:21 +0000

หากคุณใช้หน่วยวัดส่วนสูงเป็นเซนติเมตร คุณก็ยังสามารถคำนวณค่า BMI ได้ เพียงแต่ว่าต้องปรับสมการเล็กน้อย สมการที่ว่านี้ก็คือ นำน้ำหนักตัวหน่วยเป็นกิโลกรัมหารด้วยส่วนสูงหน่วยเป็นเซนติเมตร จากนั้นก็นำไปหารด้วยส่วนสูงหน่วยเซนติเมตรอีกครั้งแล้วคูณด้วย 10, 000 [4] เช่น ถ้าน้ำหนักตัวหน่วยเป็นกิโลกรัมของคุณอยู่ที่ 60 และส่วนสูงหน่วยเป็นเซนติเมตรของคุณคือ 152 ให้คุณนำ 60 หารด้วย 152 และหารด้วย 152 อีกครั้ง (60 / 152 / 152) ก็จะได้คำตอบเท่ากับ 0. 002596. นำคำตอบที่ได้ไปคูณด้วย 10, 000 คุณก็จะได้คำตอบเท่ากับ 25. 96 หรือประมาณ 26 ค่าดัชนีมวลกายของคนๆ นี้ก็จะเท่ากับ 26 อีกหนึ่งวิธีก็คือแค่เปลี่ยนหน่วยความสูงจากเซนติเมตรเป็นเมตรด้วยการเลื่อนจุดทศนิยมมาข้างหน้าสองจุด เช่น 152 เซนติเมตรก็เท่ากับ 1. 52 เมตร จากนั้นก็หาค่า BMI ด้วยการนำส่วนสูงหน่วยเป็นเมตรไปยกกำลัง จากนั้นก็นำน้ำหนักไปหารด้วยส่วนสูงหน่วยเป็นเมตรยกกำลังสอง เช่น 1. 52 x 1. 52 เท่ากับ 2. 31 ถ้าคุณหนัก 80 กิโลกรัม คุณก็นำ 80 ไปหารด้วย 2. 31 ค่า BMI ก็จะเท่ากับ 34. 6 โฆษณา 1 นำส่วนสูงหน่วยเป็นนิ้วมายกกำลังสอง. ในการนำส่วนสูงมายกกำลังสองนั้น ให้คุณนำส่วนสูงเป็นนิ้วคูณตัวมันเอง เช่น ถ้าคุณสูง 70 นิ้ว ให้นำ 70 x 70 คำตอบของตัวอย่างนี้ก็จะเท่ากับ 4, 900 [5] นำน้ำหนักไปหารด้วยส่วนสูง.

โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ Saint louis hospital

คำนวณค่าดัชนีมวลกาย (BMI) - wikiHow

2-30. 3% อายุ 61-80 ปี ค่าปกติอยู่ที่ 24. 0-29. 8% 2. ค่ามวลกล้ามเนื้อในเพศชายคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของมวลกาย อายุ 18-40 ปี ค่าปกติอยู่ที่ 33. 4-39. 4% อายุ 41-60 ปี ค่าปกติอยู่ที่ 33. 2-39. 2% อายุ 61-80 ปี ค่าปกติอยู่ที่ 33. 0-38.

สูตรคำนวณคำนวณหาดัชนีมวลกาย (BMI)

  • ขาย Transporter Syncro T3 เตียงนอนพับได้ - Truck2Hand.com
  • โครง งาน ขนม
  • เลข imei iphone 6
  • สูตรคำนวณคำนวณหาดัชนีมวลกาย (BMI)
  • ทีวี Sony 32 นิ้ว LED HD Smart TV รุ่น KDL-32W600D ลดราคาถูก
  • Z1000 2014 ราคา iphone
  • งานตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
  • Slotxo ฝาก 30 รับ 100 ล่าสุด

ค่าดัชนีมวลกาย หรือ ค่า BMI (Body Mass Index) เป็นค่าอัตราส่วนระหว่างความสูงและน้ำหนักของผู้ใหญ่หรือคนที่มีอายุ 20 ขึ้นไป ซึ่งค่าดัชนีมวลกายสามารถดูอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆได้ เพราะโรคอ้วน จะมีภาวะการเสี่ยงต่อการเกิดโรค ต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคนิ่วในถุงน้ำดี โรคหัวใจขาดเลือด เป็นต้น และผู้ที่มีน้ำหนักน้อยเกินไปหรือผอมต่ำกว่าเกณฑ์ ก็สามารถเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆได้เช่นกัน การคำนวณ Body Mass Index (BMI): ดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (kg) / ความสูง 2 (cm) ประเมินดัชนีมวลกายมาตรฐานคนเอเชีย BMI เกณฑ์ ภาวะเสี่ยง < 18. 5 น้ำหนักน้อย มากกว่าคนปกติ 18. 5-22. 9 ปกติ 23-24. 9 อ้วนระดับ 1 ภาวะเสี่ยงระดับ 1 25-29. 9 อ้วนระดับ 2 ภาวะเสี่ยงระดับ 2 >= 30 อ้วนระดับ 3 ภาวะเสี่ยงระดับ 3 คำแนะนำ ควรทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่และออกกำลังการอย่างสม่ำเสมอจะทำให้มีสุขภาพดี

  1. กรด เบส ค่า ph ของน้ํา
  2. ขาย บ้าน ตรัง โซน