มอ เนอ รา

Mon, 16 May 2022 00:50:08 +0000

Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้ แฟลกเจลลาประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจลลา 1 เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตำแหน่ง ส่วนของแฟลกเจลลา ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ basal body, hook และ filament 7.

มอเนอรา

อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย ( Subkingdom Eubacteria) ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั้งในดิน น้ำ อากาศ อาหาร นม และในร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น สามารถพบได้ทั้ง ในน้ำเค็ม น้ำจืด น้ำกร่อย ในธารน้ำแข็ง หรือแม้กระทั่งแหล่งน้ำพุร้อน เป็นต้น นอกจากนี้ยูแบคทีเรียมีกระบวนการเมแทบอลิซึมในการดำรงชีวิตที่หลากหลาย จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทสำคัญต่อระบบนิเวศ ยูแบคทีเรียแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆดังนี้ 2. 1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย ( Proteobacteria) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่หลากหลายบางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืชบางกลุ่มสามารถดำรงชีวืตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และให้ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย ( purple sulfur bacteria) บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น 2. 2 กลุ่มคลาไมเดีย ( Chlamydias) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น 2.

อาณาจักรเมอเนอรา - ชีววิทยา

แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในน้ำ ในอากาศ แหล่งที่เป็นน้ำพุร้อน เขตหิมะ ทะเลลึก 5. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการสารอาหาร 5. 1 Photoautotroph 5. 2 Photoheterotroph 5. 3 Chemoautotroph 5. 4 Chemoheterotroph 6. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอากาศ 6. 1 Aerobic bacteria 6. 2 Facultative bacteria 6. 3 microaerophilic bacteria 6. 4 Anaerobic bacteria 7. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอุณหภูมิ 7. 1 Psychrophile 7. 2 Mesophile 7. 3 Thermophile โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ 1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA) 2. ผนังเซลล์ (cell wall) ทำหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ป้องกันเซลล์แตกประกอบด้วย peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยน้ำตาล 2 ชนิด คือ N-actyl glucosamine (NAG) และN-acytyl muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และ lipoprotein lipopolysac teichoic acid 3. Capsule เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อการทำลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง 4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการเคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation 5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm จะพบบริเวณ ที่จะมี การแบ่งเซลล์ 6.

หน้า 175) ยูแบคทีเรียเป็นสาเหตุการเกิดโรคหลายโรค เช่น โรคปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู โรคแอนแทรกซ์ เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงประโยชน์และโทษจากแบคทีเรียและผลกระทบที่มีต่อการดำรง ชีวิตของมนุษย์ กิจกรรมทดสอบหลังเรียน " ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ใน อาณาจักรมอเนอรา "....................................................................................... เอกสารอ้างอิงและแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือครูสาระ การเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 5. องค์การค้าคุรุสภา. กรุงเทพฯ. 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการค. หนังสือเรียนสาระ Bauer, Penelope Hanchey, Magnoli, Micheal A., Alarez, Armand, Chang-Van Horn, Dorothy and Gomes, Delilah Taylor. Experiences in Biology. Laidlaw Brothers Publishers. Illinois. 1977.

มอเนอรา ลักษณะสําคัญ

สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินมีลักษณะสำคัญดังนี้ 1. เซลล์เป็นแบบโพรคาริโอต ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 2. ภายในเซลล์ไม่มีเม็ดคลอโรพลาสต์ มีแต่คลอโรฟีลล์ เอ แคโรทีน (carotene) แซนโทฟิลล์ (xanthophy11) ไฟโคอิริทริน (phycoerythrin) ซึ่งเป็นสารสีแดง ไฟโคไซยานิน (phycocyanin) ซึ่งเป็นสารสีน้ำเงินจึงทำให้สาหร่ายชนิดนี้เป็นสีเขียวแกมน้ำเงิน 3. ผนังเซลล์เป็นสารพวกเพปทิโดไกลแคน คือ มีพอลิแซคคาไรด์เกาะอยู่กับเพปไทด์ ผนังเซลล์มักถูกหุ้มด้วยเมือกซึ่งมีลักษณะคล้ายวุ้นทำให้ลื่น 4. อาหารสะสมเป็นสารพวกคาร์โบไฮเดรต คือ ไกลโคเจน (glycogen) และมีชื่อเฉพาะว่าไซยาโนไฟเซียน สตอร์ช (cyanophysean starch) 5. ไม่มีแฟลเจลลา จึงเคลื่อนที่ด้วยตัวเองไม่ได้ 6. การสืบพันธุ์มีเฉพาะการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเท่านั้น ได้แก่ - ในพวกที่มีเซลล์เดียวจะมีการแบ่งเซลล์จาก 1 เป็น 2(binary fission) - ในพวกที่อยู่เป็นสายอาจเกิดจากการขาดหรือหักออกของสาย (fragmentation) เป็นสายสั้นๆแต่ละสายนี้ก็สามารถเจริญเป็นสายของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่สมบูรณ์ต่อไป - ในพวกเป็นสายอาจมีการสร้างเซลล์พิเศษที่เรียกว่า อะคินีต (akinete) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีผนังหนามีอาหารสะสมอยู่ภายในเซลล์มากและทนทานสภาพต่างๆได้ดีเมื่ออะคินีตพบสภาพ- แวดล้อมที่เหมาะสมก็สามารถเจริญขึ้นเป็นสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินได้ต่อไป 7.

Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งด้วยการจับคู่สัมผัสกันโดยตรง 2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง 3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดยอาศัยไวรัสหรือ Bacteriophage การจำแนก Bacteria อาศัยลักษณะดังนี้ 1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง 2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น 2. 1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้ 2. 2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้ 3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain] แบ่งเป็น 3. 1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต 3. 2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน 4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O 2 5. ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ: อาหาร สภาพแวดล้อม 6. ลักษณะทางแอนติเจน ประโยชน์ของแบคทีเรีย 1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง 2. ด้านการเกษตร เช่นใช้เป็นปุ๋ย 3. การทดสอบคุณภาพน้ำ 4. ทางด้านการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ 5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะต่าง ๆ 6.

1.อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) | supanya131

  • อาณาจักรมอเนอรา
  • อาณาจักรมอเนอรา (Monera Kingdom) | สาระ ความรู้ ข่าวสาร ความบันเทิง ของชาวมัธยมศึกษา และประถมศึกษา : Knowledge for Thai Student | ThaiGoodView.com
  • อาณาจักรมอเนอรา – adjalalee
  • Truevision 358 ไทย ไทย se
  • เรียนชีววิทยา กับครูกศนต์ ภารยาท: 4.1 อาณาจักรมอเนอรา

สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินมีหลายชนิด เช่น 7. 1 พวกที่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่ม เช่น ครูอคอกคัส (Chroococcus) แอนาซีสทีส (Anacystis) 7. 2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และ ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) 8. ประโยชน์ของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน คือ 8. 1 เป็นผู้ผลิตอาหาร และแก๊สออกซิเจนให้แก่ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ 8. 2 สาหร่ายสไปรูไลนาหรือสาหร่ายเกลียวทอง เป็นสาหร่ายที่มีโปรตีนสูงมากถึง 55-65% ของน้ำหนักแห้งจึงสามารถผลิตเป็นอุตสาหกรรม อาหารเสริมของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ 8. 3 สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินหลายชนิด เช่น นอสตอก แอนาบีนา ออสซิลลาทอเลียสามารถตรึงไนโตรเจนได้ ทำให้เพิ่มปุ๋ยไนโตรเจนในดินและเป็นการเพิ่มผลผลิตแต่ลค่าใช้จ่าย ให้แก่เกษตรกรทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เช่น การเลี้ยงแหนแดง (Azolla) ซึ่งแอนาบีนาอยู่ในช่องว่างกลางใบไปพร้อมๆกับการปลูกข้าวทำให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นและลดจำนวนการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนลงไปได้มาก ในปัจจุบันจึงมีการเลี้ยงสาหร่ายเหล่านี้เพื่อผลิตออกมาเป็นปุ๋ยชีวภาพ เพื่อให้เกษตรกรใช้ใส่ในนาข้าว เพื่อเพิ่มไนโตรเจนให้แก่ต้นข้าว

เพลง อาณาจักรมอเนอรา 2 (Kingdom Monera) - ครูชุชีววิทยา COVER [เพลงไสว่าสิบ่ถิ่มกัน | ก้อง ห้วยไร่] - YouTube

  1. ขาย nikon 24 70
  2. ร้าน ส่ง ไปรษณีย์
  3. Hospital playlist นักแสดง movie
  4. ดนตรี ประเทศ พม่า unicode
  5. หนัง ใหม่ ใหม่ 2009 relatif